Warning: session_start() [function.session-start]: Cannot send session cookie - headers already sent by (output started at C:\AppServ\www\tour\includes\framework.php:86) in C:\AppServ\www\tour\libraries\joomla\session\session.php on line 423

Warning: session_start() [function.session-start]: Cannot send session cache limiter - headers already sent (output started at C:\AppServ\www\tour\includes\framework.php:86) in C:\AppServ\www\tour\libraries\joomla\session\session.php on line 423

Warning: Cannot modify header information - headers already sent by (output started at C:\AppServ\www\tour\includes\framework.php:86) in C:\AppServ\www\tour\libraries\joomla\session\session.php on line 426
อำเภอบ้านกรวด องค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ /tour/index.php?option=com_content&view=category&id=51&layout=blog&Itemid=107 2024-05-02T18:20:04Z Joomla! 1.5 - Open Source Content Management แหล่งเตาโบราณ 2009-05-01T08:45:28Z 2009-05-01T08:45:28Z /tour/index.php?option=com_content&amp;view=article&amp;id=53:2009-05-01-08-46-03&amp;catid=51:2009-05-06-04-35-40&amp;Itemid=107 <table border="0" cellspacing="0" cellpadding="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="2" valign="top"><font size="2" color="#0000ff">แหล่งเตาโบราณ</font></td></tr><tr><td width="70%" valign="top"><span style="font-size: 10pt">ตั้งอยู่ที่โรงเรียนบ้านกรวดวิทยาคาร ระหว่างหลักกม.ที่ 21-22 ทางหลวง หมายเลข 2075 ห่างจากตัวเมือง 66 กม. นักโบราณคดีได้สำรวจพบเตาเผา และเครื่องปั้นดินเผา โบราณจำนวนมาก พบว่ามีอายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 14-19 โดยเตาเผาเหล่านี้ ได้ผลิตเครื่องถ้วยเขมร เพื่อเป็นสินค้าป้อนให้กับเมืองต่างๆ ในกัมพูชา และในภูมิภาคต่างๆ โดยมีการทำอุตสาหกรรมขนาด ใหญ่โต และขยายขอบเขตการผลิตไปยังพื้นที่ใกล้เคียงอีกด้วย<br />กรมศิลปากรได้ทำการขุดแต่งเตาโบราณ 2 แห่งคือ เตาสวายและเตานายเจียน ซึ่งอยู่ห่างจาก อำเภอบ้านกรวดเป็นระยะทาง 5 และ 10 กม. ตามลำดับ ส่วนเครื่องปั้นดินเผาที่ขุดพบสามารถชมได้ที่ หอศิลปกรรมบ้านกรวด ในบริเวณที่ว่าการอำเภอ บ้านกรวด</span></td></tr></tbody></table> <table border="0" cellspacing="0" cellpadding="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="2" valign="top"><font size="2" color="#0000ff">แหล่งเตาโบราณ</font></td></tr><tr><td width="70%" valign="top"><span style="font-size: 10pt">ตั้งอยู่ที่โรงเรียนบ้านกรวดวิทยาคาร ระหว่างหลักกม.ที่ 21-22 ทางหลวง หมายเลข 2075 ห่างจากตัวเมือง 66 กม. นักโบราณคดีได้สำรวจพบเตาเผา และเครื่องปั้นดินเผา โบราณจำนวนมาก พบว่ามีอายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 14-19 โดยเตาเผาเหล่านี้ ได้ผลิตเครื่องถ้วยเขมร เพื่อเป็นสินค้าป้อนให้กับเมืองต่างๆ ในกัมพูชา และในภูมิภาคต่างๆ โดยมีการทำอุตสาหกรรมขนาด ใหญ่โต และขยายขอบเขตการผลิตไปยังพื้นที่ใกล้เคียงอีกด้วย<br />กรมศิลปากรได้ทำการขุดแต่งเตาโบราณ 2 แห่งคือ เตาสวายและเตานายเจียน ซึ่งอยู่ห่างจาก อำเภอบ้านกรวดเป็นระยะทาง 5 และ 10 กม. ตามลำดับ ส่วนเครื่องปั้นดินเผาที่ขุดพบสามารถชมได้ที่ หอศิลปกรรมบ้านกรวด ในบริเวณที่ว่าการอำเภอ บ้านกรวด</span></td></tr></tbody></table> แหล่งหินตัด 2009-05-01T08:44:26Z 2009-05-01T08:44:26Z /tour/index.php?option=com_content&amp;view=article&amp;id=52:2009-05-01-08-45-00&amp;catid=51:2009-05-06-04-35-40&amp;Itemid=107 <table border="0" cellspacing="0" cellpadding="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="2" valign="top"><font size="2" color="#0000ff"><a href="http://null/hintad.html" target="_blank">แหล่งหินตัด</a></font></td></tr><tr><td width="70%" valign="top"><p style="margin-left: 5px; margin-right: 5px"><span style="font-size: 10pt">ตั้งอยู่ในเขตอำเภอบ้านกรวด บริเวณเขากลอยและเขากระเจียว การเดินทางใช้เส้นทาง สายบุรีรัมย์-ประโคนชัย ทางหลวงหมายเลข 219 ต่อด้วยทางสายประโคนชัย-บ้านกรวด ทางหลวง หมายเลข 2075 เดินทางตั้งอยู่ในเขตอำเภอบ้านกรวด บริเวณเขากลอยและเขากระเจียว การเดินทางใช้ เส้นทางสายบุรีรัมย์-ประโคนชัย ทางหลวงหมายเลข 219 ต่อด้วยทางสายประโคนชัย-บ้านกรวด ทาง หลวงหมายเลข 2075 เดินทางเลยบ้านกรวดไปทางละหานทราย 6 กม. มีแยกซ้ายเข้าแหล่งหินตัดอีก 2 กม. ทางลาดยางตลอดสาย</span></p><p style="margin-left: 5px; margin-right: 5px"><span style="font-size: 10pt">แหล่งหินตัดนี้ เป็นแหล่งหินทรายที่คนสมัยขอม ตัดเอาไปสร้าง ปราสาทต่างๆ ในเขตอีสานใต้ ทั่วบริเวณ มีหินทรายก้อนใหญ่น้อยเรียงรายอยู่ทั่วไป บางก้อนยังมีร่องรอย สกัดหินปรากฏอยู่ นอกจากนั้น บริเวณนี้ยัง เป็นสถานปฏิบัติธรรมของวัดสวนธรรมศิลา ได้รับการดูแลและ ปรับปรุงสถานที่ให้สะอาดสวยงาม และมี ทางเดินจากแหล่งหินตัดไปยังจุดชมวิวบนยอดเขา</span></p></td></tr></tbody></table> <table border="0" cellspacing="0" cellpadding="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="2" valign="top"><font size="2" color="#0000ff"><a href="http://null/hintad.html" target="_blank">แหล่งหินตัด</a></font></td></tr><tr><td width="70%" valign="top"><p style="margin-left: 5px; margin-right: 5px"><span style="font-size: 10pt">ตั้งอยู่ในเขตอำเภอบ้านกรวด บริเวณเขากลอยและเขากระเจียว การเดินทางใช้เส้นทาง สายบุรีรัมย์-ประโคนชัย ทางหลวงหมายเลข 219 ต่อด้วยทางสายประโคนชัย-บ้านกรวด ทางหลวง หมายเลข 2075 เดินทางตั้งอยู่ในเขตอำเภอบ้านกรวด บริเวณเขากลอยและเขากระเจียว การเดินทางใช้ เส้นทางสายบุรีรัมย์-ประโคนชัย ทางหลวงหมายเลข 219 ต่อด้วยทางสายประโคนชัย-บ้านกรวด ทาง หลวงหมายเลข 2075 เดินทางเลยบ้านกรวดไปทางละหานทราย 6 กม. มีแยกซ้ายเข้าแหล่งหินตัดอีก 2 กม. ทางลาดยางตลอดสาย</span></p><p style="margin-left: 5px; margin-right: 5px"><span style="font-size: 10pt">แหล่งหินตัดนี้ เป็นแหล่งหินทรายที่คนสมัยขอม ตัดเอาไปสร้าง ปราสาทต่างๆ ในเขตอีสานใต้ ทั่วบริเวณ มีหินทรายก้อนใหญ่น้อยเรียงรายอยู่ทั่วไป บางก้อนยังมีร่องรอย สกัดหินปรากฏอยู่ นอกจากนั้น บริเวณนี้ยัง เป็นสถานปฏิบัติธรรมของวัดสวนธรรมศิลา ได้รับการดูแลและ ปรับปรุงสถานที่ให้สะอาดสวยงาม และมี ทางเดินจากแหล่งหินตัดไปยังจุดชมวิวบนยอดเขา</span></p></td></tr></tbody></table>